โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2566 หน้าที่ 21
สารบัญ
- การเพิ่มประสิทธิภาพฝ้าเพดานผสมใยมะพร้าวเพื่อลดความร้อนภายในบ้าน
- การเพิ่มประสิทธิภาพถ่านชีวมวลจากเปลือกผลไม้
- การเพิ่มประสิทธิภาพคาร์บอนกัมมันต์จากมูลโคเพื่อการดูดซับไนเตรท
- การเพิ่มประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์ โดยกระจกเงารวมแสง และ การระบายความร้อนด้วยระบบน้ำ
- การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการส่งพลังงานเเบบไร้สาย ด้วยหลักการความไม่เป็นเชิงเส้นของอุปกรณ์
- การเพิ่มประสิทธิภาพของมูลไส้เดือนดินด้วยน้ำหมักจุลินทรีย์จาวปลวกต่อการเจริญเติบโตของพืช
- การเพิ่มประสิทธิภาพของปุ๋ยชีวภาพโดยใช้พืชท้องถิ่น เพื่อลดความเป็นกรดของดิน
- การเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและปริมาณ Bacoside A ในพรมมิ: ผลกระทบของความเข้มข้นของไคโตซาน น้ำหนักโมเลกุล และรูปแบบการใช้ไคโตซาน โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
- การเพิ่มประสิทธิภาพการติดสีของผ้าที่ย้อมด้วยผลมะเกลือแห้ง โดยใช้ยางกล้วยเป็นสารช่วยติด
- การเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับออกซิเจนเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตไฟฟ้าของเเบตเตอรี่สังกะสี-อากาศด้วยวัสดุโครงข่ายโลหะ-อินทรีย์ที่ทำหน้าที่เป็นชั้นเเคโทดอากาศ
- การเพิ่มทางรอดในหน้าแล้งขาดแคลนน้ำของต้นทุเรียนอายุ 2 ปี โดยการล้อมปลูกด้วยต้นกำแพงเก้าชั้นคลุมดิน
- การเพิ่มความแข็งแรง ความเหนียว และการทนน้ำของบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ พร้อมสารสกัดธรรมชาติเพื่อชะลอการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและตัวชี้วัดการเน่าเสียของอาหารสด
- การเพาะเลี้ยงแตนเบียนบราคอน ฮีบิเตอร์(B. hebeter Say) เพื่อกำจัดและลดจำนวนหนอนหัวดำมะพร้าว (O. arenosella Walker) โดยสภาวะและปริมาณน้ำผึ้งที่เหมาะสม
- การเปลี่ยนโครงสร้างของ Cephalosporins : เพื่อเสริมฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย
- การเปลี่ยนแปลงดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 5x5 เมื่อใช้วิธีการดำเนินการตามแถวขั้นมูลฐานจนเกิดเมทริกซ์สามเหลี่ยมบน
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพ
- การเปรียบเทียบโปรตีนและสารต้านอนุมูลอิสระในเห็ดนางฟ้าที่ใช้วัสดุเพาะต่างกัน
- การเปรียบเทียบแสงสีต่างๆ ที่มี ผลต่อปริมาณแทนนินในใบพลู
- การเปรียบเทียบเซลลูโลสโดยการสกัดจากเปลือกข้าวโพดและชานอ้อยที่เหมาะสมต่อการนำมาขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์กักเก็บน้ำและสารอาหารที่พืชต้องการในกระถางต้นไม้
- การเปรียบเทียบอัตราส่วนของน้ํามันหอมระเหยกานพลูและไซลิทอลเพื่อพัฒนาเม็ดยาสีฟันที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก
- การเปรียบเทียบสูตรอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมในการผลิตสารคอร์ไดเซปินของถั่งเช่าที่มีประสิทธิภาพในการต้านอาการอักเสบ
- การเปรียบเทียบสารสกัดไคโตซานจากปูนาเเละหอยเชอรี่ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย staphylococcus aureus
- การเปรียบเทียบสารสกัดจากพืชป่าชายเลนที่พบในจังหวัดกระบี่ต่อฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ และการยั้บยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสในเซลล์เมลาโนมา
- การเปรียบเทียบสารสกัด ALKALOIDS จากใบและเมล็ดน้อยหน่า เพื่อกำจัดเพลี้ยไก่แจ้ส้ม
- การเปรียบเทียบสมบัติเชิงกลของกระเบื้องซีเมนต์ปูพื้นที่มีส่วนผสมของปูนขาวจากเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยแมลงภู่
- การเปรียบเทียบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเครื่องดื่มวิตามินซีและชาชงจากเปลือกมะม่วงเบา
- การเปรียบเทียบฤทธิ์ของสารสกัดหยาบจากสะระแหน่และโหระพาที่มีผลต่ออัตราการลดจำนวนลูกน้ำของยุงสายพันธุ์ Aedes และ Anopheles ในพื้นที่โรงเรียนสิงห์สมุทร
- การเปรียบเทียบฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ และยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียจากคอมบูชาที่หมักจากใบ ลำต้น และดอกเก๊กฮวย
- การเปรียบเทียบผลจากพืชลอยน้ำชนิดต่างๆที่มีต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชในน้ำโดยการเปรียบเทียบความเข้มสีของสารละลายไอโอดีนที่ได้จากการทดสอบแป้ง
- การเปรียบเทียบผลของสารสกัดจาก เปลือกทับทิม, เปลือกมังคุด และใบชา ในการยับยั้งเชื้อ Streptococcus mutans
- การเปรียบเทียบผลของปุ๋ยชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายเกลียวทอง
- การเปรียบเทียบผลการยับยั้งเชื้อรา Phytophthora Parasitica ด้วย สารสกัดหยาบจากข่า และ กระชายขาว
- การเปรียบเทียบปริมาณและคุณภาพของแอลกอฮอล์จากเปลือกไม้เหลือทิ้งที่ได้จากการหมักโดยจุลินทรีย์ธรรมชาติและจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
- การเปรียบเทียบปริมาณและคุณภาพของแอลกอฮอล์จากเปลือกผลไม้เหลือทิ้ง ที่ได้จากการหมักโดยจุลินทรีย์ธรรมชาติ และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
- การเปรียบเทียบปริมาณสารไคโตซานจากหอยแมลงภู่ หอยแครง หอยทาก โดยวิธีการสกัดด้วยสารละลายที่ต่างกัน
- การเปรียบเทียบปริมาณสารเคอร์คูมินจากขมิ้นชัน ด้วยการสกัดแบบไหลย้อนกลับ และการสกัดด้วยตัวทำละลาย
- การเปรียบเทียบปริมาณสารประกอบฟีนอลที่ได้จากการสกัดใบโหระพา ใบชะเอม ใบกระทุที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของstreptococcus mutans
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในดินเพื่อการเพาะปลูก จากสารสกัดแคลเซียมคาร์บอเนตในเปลือกหอยแครงและไคโตซานในเปลือกกุ้ง
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเคลื่อนย้ายผู้พิการในรถเข็นผู็พิการต้นแบบ
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการสมานรอยแตกร้าวของคอนกรีตโดยใช้การตกตะกอนของแคลเซียมคาร์บอเนตด้วยแบคทีเรียระหว่างแบคทีเรีย Bacillus subtilis และแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการย่อยสลายกากไขมันโดยใช้สารเร่งพด.2 สารเร่ง พด.6 และ EM2 ในบ่อบําบัดไขมันของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียบนผิวสัมผัสของดอกจำปี ดอกสายหยุด และดอกพิกุล
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งการเหม็นหืนในกุนเชียงหมู กุนเชียงไก่เเละกุนเชียงปลาจากสารสกัดผลสุกโคลงเคลง
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดซับและคุณภาพแบบประมาณของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากไผ่และชานอ้อย
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการชะลอการสุกของกล้วยหอมทองโดยใช้สารเคลือบผิวไคโตซานที่สกัดจากกระดองปู นาและสารเชลแล็กจากแมลงครั่ง
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความสามารถในการดูดซับคราบน้ำมันจากท่อระบายน้ำด้วยผักตบชวาและชานอ้อย
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพเจลจากสารสกัดของใบบัวบกและว่านหางจระเข้ต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureues ที่ก่อให้เกิดการอักเสบ
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพส่วนผสมของต้นกล้วยน้ำว้าในอาหารของไก่ไข่ซึ่งมีผลต่อคุณภาพของไข่ไก่
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบแทนนิน จากใบโกงกาง ใบพลู และเปลือกมะพร้าวอ่อน ที่มีผลต่อการกำจัดเพลี้ยแป้ง
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพสารสกัดหยาบจากใบกระเม็ง ใบสะเดา และใบฟ้าทะลายโจรกับสารกำจัดลูกน้ำเทมีฟอสต่อการยับยั้งการเจริญเติบโต ของลูกน้ำ