โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2566 หน้าที่ 24
- การสังเคราะห์โครงสร้างของเหล็กออกไซด์ร่วมกับการสังเคราะห์ซิลิกอนไดออกไซด์ที่มีโครงสร้างแบบแกนกลางและเปลือกหุ้ม
- การสังเคราะห์และตรวจสอบอนุภาคนาโนของคาร์บอนที่เตรียมจากรังนกแอ่นกินรังตกเกรดเพื่อใช้เป็นวัสดุตรวจวัดโลหะหนัก
- การสังเคราะห์และการคำนวณทางควอนตัมปฏิกิริยาควบคู่ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์
- การสังเคราะห์แก้วชีวภาพโดยใช้เทคโนโลยีโซล-เจลผสมกับเซลลูโลสนาโนคริสตัลจากกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมัน เพื่อผลิตสารเคลือบรากฟันเทียมกระตุ้นการงอกของกระดูกในผู้ป่วยที่ทำรากฟันเทียม
- การสังเคราะห์เรซินแลกเปลี่ยนไอออนกำจัดโลหะหนักจากตอซังข้าวโพดที่ปรับสภาพด้วยหมู่ฟังก์ชันไทออลเสริมด้วยไทเทเนียมไดออกไซด์
- การสังเคราะห์เมมเบรนจากวัสดุประกอบซีโอไลท์/เซลลูโลสอะซิเตต สำหรับใช้ในการ ดูดซับโลหะหนัก
- การสังเคราะห์อนุภาคแมกนีไทต์ขนาดนาโนและการประยุกต์ใช้ในการกำจัดสีย้อมอะโซ
- การสังเคราะห์อนุภาคนาโนแคลเซียมออกไซด์จากขยะเปลือกหอยจากอุตสาหกรรมอาหารเพื่อกำจัดตะกั่ว (Pb(II)) จากน้ำเสีย
- การสังเคราะห์อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์แบบเคมีสีเขียวจากสารสกัดเปลือกมังคุดเพื่อควบคุม เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสในพริก
- การสังเคราะห์อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์จากเปลือกทุเรียนเพื่อยับยั้งเชื้อรา Fusarium oxysporumที่ก่อให้เกิดโรคเหี่ยวในพืช
- การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนโดยใช้สารสกัดหยาบไพลที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus
- การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโนจากสารสกัดหญ้าแพรก และฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย vibrio cholerae ก่อโรคในปลา
- การสังเคราะห์สาร CMC จากเปลือกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ชะนี และก้านยาว เพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เจลบอลซักผ้า
- การสังเคราะห์วัสดุเรืองแสงคาร์บอนดอทจากใบยางพาราเพื่อประยุกต์ใช้ในงานนิติวิทยาศาสตร์สำหรับการตรวจสอบลายนิ้วมือแฝงเรืองแสงอย่างง่าย
- การสังเคราะห์วัสดุผสมสำหรับระบบการทำความเย็นแบบแผ่รังสี
- การสังเคราะห์วัสดุดูดซับเส้นใยธรรมชาติจากกาบไผ่เพื่อเป็นวัสดุดูดซึมน้ํามันปนเปื้อนในแหล่งน้ํา
- การสังเคราะห์ฟิล์มรักษาบาดแผลจากเพคตินและแทนนินโดยใช้คลื่นไมโครเวฟ
- การสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ประทับโมเลกุลของสเตียรอยด์สำหรับยาสมุนไพร
- การสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ของยาต้านไวรัสโควิด
- การสังเคราะห์พลาสเตอร์ปิดแผลจากเปลือกข้าว และศึกษาประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ของใบสาบเสือ
- การสังเคราะห์ปุ๋ยนาโนโพเเทสเซียมซิลิเกตจากเถ้าเเกลบเทาที่มีความสามารถเพิ่มความเเข็งเเรงของผนังเซลล์พืชในการทนทานศัตรูพืช
- การสังเคราะห์ถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยการกระตุ้นด้วยพลังงานไมโครเวฟ
- การสังเคราะห์ถ่านกัมมันต์จากขยะพลาสติกโดยใช้กระบวนการไพโรไลซิส เพื่อดูดซับสีย้อมโรดามินบี
- การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา Dehydrogenation จาก Ni-Cu ซึ่งถูกยึดบน N-doped Activated Carbon support เพื่อสร้างแก๊สไฮโดรเจนจากสารอินทรีย์โมเลกุลเล็ก
- การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา Dehydrogenation จาก Ni-Cu ซึ่งถูกยึดบน N-doped Activated Carbon support เพื่อสร้างแก๊สไฮโดรเจนจากสารอินทรีย์โมเลกุลเล็ก
- การสังเคราะห์ซีโอไลต์จากแกลบข้าวเพื่อดูดซับโลหะหนักในน้ำทิ้งจากคลินิกทันตกรรม
- การสังเคราะห์ซิลิกาจากขี้เถ้าชานอ้อยเพื่อประยุกต์ใช้ในแบตเตอรี่ชนิดลิเทียม
- การสังเคราะห์ซิงค์กลีเซอโรเลตจากกลีเซอรอลด้วยสารตั้งต้นซิงค์ออกไซด์และประสิทธิภาพการสะท้อนแสง UV ของซิงค์กลีเซอโรเลต
- การสังเคราะห์ชั้นเคลือบนาโนที่มีสมบัติไม่ชอบน้ำ บนโถสุขภัณฑ์ด้วยเทคนิคการพ่นสเปรย์
- การสังเคราะห์คาร์บอนนาโนดอทจากกากน้ำตาลเพื่อวัดประสิทธิภาพในการตรวจสอบเชื้อ E. coli ในแหล่งน้ำ
- การสังเคราะห์คาร์บอนดอทเรืองแสงและการศึกษาความเป็นไปได้ในการตรวจจับคราบเลือดเชิงนิติวิทยาศาสตร์
- การสังเคราะห์คาร์บอนดอตจากกากมันสำปะหลังเพื่อใช้ทดสอบฟอร์มาลีนในอาหาร
- การสังเคราะห์คาร์บอนดอตจากกากมันสัมปะหลังเพื่อใช้ทดสอบฟอร์มาลีนในอาหาร
- การสังเคราะห์คาร์บอนดอตจากกากมันสัมปะหลังเพื่อใช้ทดสอบฟอร์มาลีนในอาหาร
- การสังเคราะห์คาร์บอนควอนตัมดอทจากสารสกัดมัลเบอร์รี่เพื่อประยุกต์ใช้ในการตรวจวิเคราะห์หาคอปเปอร์ไอออนและตะกั่วไอออนในน้ำ
- การสังเคราะห์คาร์บอนควอนตัมดอทจากซังข้าวโพดเพื่อประยุกต์ใช้ในทางชีวการแพทย์
- การสังเคราะห์คาร์บอนกัมมันต์จากไผ่ซางหม่นเพื่อดักจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
- การสังเคราะห์ควอนตัมดอทจากต้นตำแยแมวโดยวิธีการอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้ทางด้านเกษตร
- การสังเคราะห์ขั้วไฟฟ้าคาร์บอนกัมมันต์จากเปลือกลูกยางพารา เพื่อประยุกต์ใช้ในตัวเก็บประจุยิ่งยวด
- การสังเคราะห์ขั้วไฟฟ้าคาร์บอนกัมมันต์จากเปลือกลูกยางพารา เพื่อประยุกต์ใช้ในตัวเก็บประจุยิ่งยวด
- การสร้างโรงเพาะเห็ดอัจฉริยะที่ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นด้วยการทำงานของบอร์ด NodeMCU
- การสร้างโพรงนกเงือกเทียมโดยจำลองอุณหภูมิและความชื้นจากโพรงนกเงือกธรรมชาติ
- การสร้างและศึกษาสมบัติของไฮโดรเจลที่ทำจากไหมไฟโบรอินผสมแคลเซียมฟอสเฟต สำหรับประยุกต์ใช้ในวัสดุอุดฟัน
- การสร้างและทดสอบคุณสมบัติของเข็มฉีดยาขนาดไมครอนจากวัสดุบริสุทธิ์เพื่อทำนายคุณสมบัติของเข็มฉีดยาขนาดไมครอนจากวัสดุผสม
- การสร้างและการประเมินเวกเตอร์การแสดงออกของการเรืองแสงอัตโนมัติภายใต้การควบคุมของโปรโมเตอร์ที่ตอบสนองต่อแคดเมียมใน <i>Nicotiana benthamiana</i>
- การสร้างแผ่นฟิล์มพอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ประทับโมเลกุลของ กรด N-แอซีติลนิวรามินิก ใช้ร่วมกับเซนเซอร์เชิงไฟฟ้าเคมีประเภทกระดาษ เพื่อประยุกต์ใช้ในการวินิจฉัยโรคปอดนิวโมโคนิโอสิส
- การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการอธิบายปริมาณสารประกอบไนโตรเจนในน้ำทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบนหลังการดูดซับจากถ่านไม้โกงกางเพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของหอยแครงสายพันธุ์ Anadara granosa (Tegillarca granosa) ในบ่อเพาะเลี้ยง
- การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายลักษณะปรากฏการณ์ออโรร่าที่สามารถสังเกตได้จากพื้นโลกโดยศึกษาปรากฏการณ์คลื่นของอัลเฟนเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างระบบพยากรณ์ปรากฏการณ์ออโรร่า
- การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อพยากรณ์ความเสี่ยงในการติดโรคชิคุนกุนยา โรคไข้เลือดออก และโรคไข้ซิกาในประเทศไทย
- การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อทำนายการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดเชียงราย