โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2564 หน้าที่ 31
สารบัญ
- การผลิตแบตเตอรี่สำรองแบบย่อยสลายได้โดยใช้กระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์กัลวานิกระหว่างขั้วซิลิกาและน้ำขี้เถ้าจากแกลบกับขั้วโลหะทองแดงและสารละลายคอปเปอร์(II)ซัลเฟต
- การผลิตเส้นใยคอมโพสิตจากแกนปอเสริมด้วยนาโนซิลิกาจากชานอ้อยเพื่อบำบัดน้ำเสียและดูดซับโลหะหนักในแหล่งน้ำ
- การผลิตฟิล์มปุ๋ยคลุมต้นกล้าพืชจากเปลือกกล้วย
- การผลิตฟองน้ำเซลลูโลสจากชานอ้อยเพื่อใช้เป็นตัวดูดซับคราบน้ำมัน
- การผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำจากของเหลือใช้ในโรงงานปลาป่นและศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์น้ำต่อการเจริญเติบโตของผักสลัด
- การผลิตปลาร้าผงด้วยการระเหยแห้งในสภาวะสุญญากาศ (Freeze drying) เพื่อรักษาแบคทีเรียโปรไบโอติกส์
- การผลิตน้ำส้มฆ่ายางจากกล้วยหอม กล้วยไข่ และกล้วยเล็บมือนางด้วยกรรมวิธีธรรมชาติเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาในการจับตัวของน้ำยางพาราสด
- การผลิตน้ำส้มฆ่ายางจากกล้วยหอม กล้วยไข่ และกล้วยเล็บมือนางด้วยกรรมวิธีธรรมชาติเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาในการจับตัวของน้ำยางพาราสด
- การผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพโดยใช้ต้นข้าว หญ้าดอกข้าว และ หญ้าไมยราบ
- การป้องกันศัตรูพืชจากธรรมชาติ
- การป้องกันศัตรูพืชจากธรรมชาติ
- การปรับสภาพเส้นใยเซลลูโลสจากกาบมะพร้าวด้วยเอนไซม์แลคเคสเพื่อบำบัดน้ำเสียจากกิจกรรมซักผ้า
- การปรับปรุงแผ่นฟิล์มจากเยื่อเปลือกข้าวโพด เพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโตของเมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ำมัน
- การประยุกต์ใช้ไคโตซานจากเปลือกกุ้งร่วมกับการใช้สารสกัดหยาบจากใบกรุงเขมาในการทำปลอกหุ้มเมล็ดเพื่อเพิ่มอัตราการงอกและอัตราการรอดตายของพืชวงศ์แตง
- การประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชันเพื่อการจำแนกและวินิจฉัยโรคลิ่มเลือดอุดตันที่ปอด
- การประยุกต์ใช้แผนที่เพื่อนำเสนอแผนภาพความถี่และการกระจายตัวของประชากรในสถานศึกษาระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
- การประยุกต์ใช้แผงระเหยน้ำสำหรับลดอุณหภูมิห้องใต้หลังคา
- การประยุกต์ใช้แบคทีเรียลเซลลูโลสเพื่อเป็นถุงเก็บความเย็น
- การประยุกต์ใช้แบคทีเรียลเซลลูโลสสำหรับบรรจุภัณฑ์อาหาร
- การประยุกต์ใช้เพคตินจากซังขนุนในการขึ้นรูปฟิล์มชีวภาพเพื่อชะลอการสุกของกล้วยน้ำว้า
- การประยุกต์ใช้เทคนิคประมวลผลภาพเพื่อประเมินสถานะการขาดไนโตรเจนในใบข้าว
- การประยุกต์ใช้ปุ๋ยหมักใบไม้เป็นวัสดุคลุมดิน:กรณีศึกษาการปลูกแตงกวา
- การประยุกต์ใช้ซอฟแวร์ประมวลผลระบบติดตามใบหน้า เพื่อควบคุมการเคลื่อนที่ของเมาส์เคอร์เซอร์คอมพิวเตอร์ สำหรับผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
- การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องในการจำแนกโรคทางสมอง จากภาพ CT scan เพื่อการวินิจฉัยโรคเบื้องต้น
- การประยุกต์ใช้การขึ้นรูปเยื่อกระดาษข้อสอบเป็นตัวดูดซับด้วยเพื่อเพิ่มมูลค่า
- การประดิษฐ์แผ่นฟิล์มรับประทานได้จากพิวเร่แครอทเป็นบรรจุภัณฑ์ ผงปรุงรสบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเพื่อทดแทนพลาสติก
- การประดิษฐ์กระดาษห่อผลไม้จากใบตะไคร้และถ่านกัมมันต์เพื่อชะลอการสุกของผลไม้
- การปนเปื้อนไมโครพลาสติกบริเวณเกาะทะลุในทะเลอ่าวไทยตอนบน
- การบ่มเซรั่มน้ำยางด้วยแบคทีเรียโพรไบโอติก เพื่อใช้เป็นสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช
- การบำบัดและดูดซับสารโลหะหนักในน้ำเสียโดยการใช้แพผักตบชวาและธูปฤาษี
- การบำบัดและดูดซับสารโลหะหนักในน้ำเสียโดยการใช้แพผักตบชวาและธูปฤาษี
- การบำบัดสภาวะจิตด้วยแสงสี เสียง จากการวิเคราะห์คลื่นสมอง
- การบำบัดน้ำขาออกจากการผลิตแก๊สชีวภาพร่วมกับการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์และการผลิตมีเทนโดยเซลล์อิเล็กโทรไลซิสจุลินทรีย์
- การบริการขนส่งอาหารด้วยยานพาหนะไฟฟ้าเพื่อลดต้นทุนและมลภาวะจากการขนส่ง
- การน้ำยาขจัดคราบเหลืองบนซิลิโคนใสด้วยสารสกัดกรดซิตริกจากผลไม้
- การนำสารสกัดว่านหางจระเข้มาพัฒนาเป็นครีมทาผิวป้องกันแสงแดด
- การนำบรรจุภัณฑ์จากพลาสติกเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิตเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์
- การนำกากตะกอนน้ำเสียจากระบบบำบัดน้ำเสียเป็นวัสดุในการผลิตปุ๋ยหมักร่วมกับเศษผัก ขี้เถ้าและกากกาแฟ
- การนำ Data Analysis มาใช้หาปริมาณความต้องการทางเศรษฐศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนสิ่งของจำเป็นในภาวะวิกฤต (โควิด-19)
- การนับวิธีการจัดรูปแบบขยะและความสัมพันธ์ของขยะในถุงซ้อนถุง ด้วยตัวเลขกาตาล็องและเส้นทางของดิก
- การทำเอนแคปซูเลชันแอนโทไซยานินจากลูกหม่อนด้วยเทคนิครีเวิร์สสเฟียริฟิเคชันเพื่อผลิตเยลลี่เพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของผงบุก
- การทำนายและเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนของการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventricular ejection fraction) ในการตรวจ Multigated Acquisition (MUGA) scanning จากการจำลองภาพถ่ายรังสีแกมม่าที่มีปริมาณรังสีต่ำในระดับที่ต่างกัน
- การทำนายและคัดเลือกเปปไทด์ต้านมะเร็งผิวหนังเมลาโนมาและการลดการสร้างเมลานินจากข้อมูลเปปทิโดมของ Cannabis sativa ด้วยเทคนิคทางชีวสารสนเทศ
- การทำนายเปปไทด์ยับยั้งโควิด-19 เมนโปรตีเอสจากโปรตีนรำข้าวไฮโดรไลเซตจำลอง
- การทำนายระดับความหวานของมะม่วงเขียวเสวยผ่านสีด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์
- การทำนายปริมาตรน้ำมะพร้าว ด้วยวิธีกำลังสองที่น้อยที่สุด และวิธีการหาปริพันธ์ของฟังก์ชัน
- การทำนายจลนพลศาสตร์ของเอนไซม์กลุ่มไกลโคซิเดสด้วยเทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง โดยอาศัยตัวบ่งชี้ทางโมเลกุลและคุณสมบัติทางเคมีกายภาพของเอนไซม์และสารตั้งต้น
- การทำนายความไวต่อยาด้วยเทคนิคผสมผสาน Graph Attention Networks เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับการรักษาโรคมะเร็งด้วยการแพทย์แบบแม่นยำ โดยใช้โครงสร้างโมเลกุลยาร่วมกับข้อมูลทางเภสัชพันธุศาสตร์
- การทำกระดาษกันน้ำจากใบเตย และเยื่อกล้วย
- การทดสอบเหล็ก (II) และ เหล็ก (III) จากใบมันสำปะหลัง