โครงงานวิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาปริญญาโทขึ้นไป หน้าที่ 15
- การเก็บรักษากล้วยไม้เอื้องสายสามสีโดยการชักนำให้เกิดการพักตัวของโพรโทคอร์มและการทำเมล็ดเทียม
- การเก็บรักษากล้วยไม้เอื้องสายสามสีโดยการชักนำให้เกิดการพักตัวของโพรโทคอร์มและการทำเมล็ดเทียม
- การเข้ารหัสรูปภาพโปรแกรมเพื่องานการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- การเคลือบฟิล์มบางด้วยเทคนิคแมกนีตรอนสปัตเตอร์ริ่ง
- การเคลื่อนที่ของอนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์
- การเคลื่อนที่ของอนุภาคภายใต้สนามต่างๆ
- การเคลื่อนที่เป็นรูปดาวของขดคลื่น
- การเจริญเติบโตของบัวหลวงในแหล่งน้ำเสีย
- การเตรียมชั้นอนุภาคนาโนคอปเปอร์ออกไซด์บนกระจกด้วยวิธีเอเควียสเคมิคัลโกรธ์สำหรับใช้เป็น ขั้วแคโทดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
- การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาแบบไร้แพลทินัมบนตัวรองรับคาร์บอน เพื่อใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรน แลกเปลี่ยนโปรตอนฝั่งคาโทด
- การเตรียมผลึกเดี่ยวอย่างรวดเร็วของสารประกอบชนิดใหม่ [VV10O26(OH)2].(C6N2H14).2(C6N2H13). (C6N2H12).2H2O ด้วยเทคนิคไมโครเวฟไฮโดรเทอร์มอล
- การเตรียมรีคอมบิแนนท์ชิกาท็อกซินหน่วยย่อยบีสำหรับการพัฒนาแอนติบอดีและซับยูนิตวัคซีน
- การเตรียมวัสดุเชิงประกอบไคโตซานสำหรับการประยุกต์ใช้งานทางการแพทย์
- การเตรียมอนุมูลอิสระเอบีทีเอส (ABTS+.) ด้วยเอนไซม์แลคเคสจากเห็ด Trametes Versicolor
- การเตรียมเซรามิกแบเรียมสทรอนเชียมไททาเนต (BST) ด้วยวิธีการเผาไหม้
- การเตรียมเซลลูโลสเบนโซเอตจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรด้วยวิธี Homogeneous system
- การเตรียมแป้งข้าวโพดดัดแปร โดยวิธีการใช้แรงดันออสโมติก
- การเตรียมและการตรวจสอบคุณสมบัติพอลิอะนิลีนและพอลิอะนิลีนที่ถูกเจือด้วยกรดไดคาร์บอกซิลิก
- การเตรียมและการศึกษาคุณสมบัติของ Metal Nanoparticles
- การเตรียมและสมบัติการดูดกลืนแสงของสีย้อมจากธรรมชาติเพื่อใช้เป็นเซนซิไทเซอร์ในเซลล์แสงอาทิตย์
- การเตรียมและหาลักษณะเฉพาะของเซรามิก อะลูมินา-แมกนีเซีย
- การเตรียมโครงสร้างนาโนซิงค์ออกไซด์เพื่อใช้เป็นเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อม
- การเตรียมไฟโบรอินที่ละลายน้ำจากรังไหมไหมพันธุ์ไทยพื้นเมือง
- การเติบโตของต้นโกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) ที่ระยะปลูกแตกต่างกัน
- การเปรียบเทียบการติดสีโครโมโซมของเซลล์พืชด้วยข้าวเหนียวดำ (Oryza sativa L.) และครั่ง (Laccifer lacca Kerr) ในตัวทำละลาย ความเข้มข้น และระดับความเป็นกรด-ด่างที่ต่างกัน
- การเปรียบเทียบการแสดงออกของยีนในรากและใบหนอนตายหยาก (Stemona curtisii) โดย cDNA-Amplified Fragment Length Polymorphism (cDNA-AFLP)
- การเปรียบเทียบค่าของปริมาณรังสีอุลตราไวโอเลตใต้ร่มกันแดดที่มีสีแตกต่างกัน
- การเปรียบเทียบตรวจไวรัสอักเสบบี จากน้ำลายและเลือดด้วยวิธี ELISA และ PCR
- การเปรียบเทียบประสิทธิภาพโปรแกรมคำนวณการชนกันของวัตถุ ที่เขียนโดย MPI และ OpenMP
- การเปรียบเทียบลักษณะกายวิภาคภายนอกระหว่างยุงในสกุล Culex sp. และ Aedes sp. ด้วยกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM)
- การเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักโดยวิธี Atomic Absorption Spectroscopy และ X-ray Fluorescence Spectroscopy
- การเปรียบเทียบวิธีประมาณค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยในการวิเคราะห์การถดถอย กรณีความคลาดเคลื่อนมีการแจกแจงแบบลอกนอร์มอล
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ Bulbophyllum affine
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ Bulbophyllum affine
- การเพาะเห็ดฟางด้วยก้อนเชื้อเห็ดเก่าในกล่อง
- การเพิ่มความเข้มข้นและการวิเคราะห์โลหะหนักปริมาณน้อยมากด้วยเทคนิคซีเคว็นเชียลอินเจกชันควบคู่กับ แอโนดิก สทริปปิงโวลแทมเมทรีโดยใช้ขั้วไฟฟ้าคาร์บอนพิมพ์สกรีนเคลือบด้วยฟิล์มบิสมัต
- การเพิ่มคุณภาพสีของเพชรโดยการฉายรังสีนิวตรอนและการเผาอบ
- การเพิ่มค่าสนามหักล้างของวงฮิสเทอรีซิสโดยการเพิ่มชั้นฟิล์มบางแม่เหล็กแอนติเฟร์โร ภายใต้การจำลองสถานการณ์มอนติคาร์โล
- การเพิ่มปริมาณยอดและชักนำรากของบัวจงกลนีในสภาพปลอดเชื้อ
- การเรียนการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เรื่อง สารชีวโมเลกุล
- การเสนอผลงานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลเบื้องต้นของสารสกัดจากเล็บมือนาง และสารสังเคราะห์ Arecoline ต่อพยาธิใบไม้ตับโค Fasciola gigantica
- การแก้ไขคำผิดในภาษาไทย
- การแช่แข็งเอมบริโอของหนูธาลัสซีเมีย
- การแยกและการประยุกต์ใช้แบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไลเปสในการบำบัดน้ำเสียที่มีไขมันปนเปื้อน (Screenning of lipase-producing bacterial cells and their application in lipid-rich wastewater treatment)
- การแยกและการพิสูจน์ โครงสร้างสารจากต้นสังหยูดอกแดง
- การแยกและหาปริมาณ cations ในเนื้อเยื่อพืช โดยวิธี Capillary Zone Electrophoresis (CZE)
- การแสดงออกของ VEGF ในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดี
- การแสดงออกของยีนบีเอดีเอช ในระดับอาร์เอนเอ ของข้าวสายพันธุ์อินดิก้า ที่ตอบสนองต่อสภาพเครียดจากความเค็มและปัจจัยแวดล้อม
- การแสดงออกของยีนบีเอดีเอช ในระดับอาร์เอนเอ ของข้าวสายพันธุ์อินดิก้า ที่ตอบสนองต่อสภาพเครียดจากความเค็มและปัจจัยแวดล้อม
- การแสดงออกของยีนเปรียบเทียบในรากและใบหนอนตายหยาก (Stemona curtisii) โดยวิธี DDRT-PCR