โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2563 หน้าที่ 32
- การศึกษาการกักเก็บคาร์บอนของถ่านชีวภาพที่มีผลต่อการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และการกักเก็บน้ำภายในดิน
- การศึกษาการกระจายตัวของแรงบริเวณมือด้วยมุมด้ามจับที่ต่างกันในแต่ละช่วงการเดินด้วยไม้ค้ำยันใต้รักแร้
- การศึกษากลไกการป้องกันตัวของพืชตามธรรมชาติโดยใช้เชื้อราfusarium oxysporum
- การศึกษากระบวนการยับยั้งวิถีไกลโคไลซิสโดยใช้ phosphoenolpyruvate เพื่อยืดระยะเวลาการเก็บกลูโคสในหลอดเก็บเลือดฝาสีเขียว
- การศึกษา เเละ เปรียบเทียบฟีโรโมน กับสารสกัดที่มาจากธรรมชาติ
- การศึกษา Carbon Footprint ของกระบวนการผลิตกล้วยอบเนยเพื่อใช้เป็นแนวทางในการลดก๊าซเรือนกระจก
- การวิเคราะห์เพื่อคาดคะเนธาตุองค์ประกอบ อายุ และอุณหภูมิจากสเปกตรัมของดาวในกาเเล็กซี M31 และมี Spectral type ของดาวที่คล้ายคลึงกัน (type O)โดยใช้วิธีสเปกโตรสโคปี จากภาพที่ถ่ายด้วยกล้องซีซีดีโฟโตมิเตอร์ (CCD Photometer) และวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม RSpec
- การวิเคราะห์ปริมาณ Galactomyces (Pitera)ในน้ำข้าวหม่าจากข้าวเหนียวสันป่าตอง
- การวิเคราะห์ความเสื่อมสภาพของไข่โดยใช้ตัวตรวจวัดแบบแสดงสี
- การวางโมเดลธุรกิจเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานระบบไฟฟ้าแบบSmart Grid ภาคครัวเรือนและการจัดการระดมทุนรูปแบบใหม่ (ICO: Initial Coin Offering)
- การวัดและเปรียบเทียบขนาดของละอองน้ำจากหัวพ่นหมอกอัลตร้าโซนิคและหัวพ่นแบบฝอยโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ร่วมกับเทคนิคการคำนวณPIXEL เพื่อนำไปพัฒนาระบบเพาะเลี้ยงแอโรโพนิคอัตโนมัติ
- การลดปริมาณโปรตีนในนํ้ายางพาราด้วยเอมไซม์โปรติเอส
- การระบุ microRNA ตัวควบคุมหลัก ที่สามารถกระตุ้นเซลล์ผนังมดลูกของมนุษย์ (Human Endometrial cell line: RL95-2) ให้พร้อมรับการฝังตัวของตัวอ่อนมนุษย์ภายนอกร่างกาย
- การระบายอากาศร้อนห้องเรียนด้วยระบบก้างปลา
- การระบายสีกราฟเคย์เลย์ผลบวก
- การยืดอายุการเก็บรักษาเนื้อหมูด้วยแก๊สโอโซนร่วมกับการบรรจุสุญญากาศ
- การยืดอายุการเก็บรักษามะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ด้วยสารเคลือบผิวคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสและสารสกัดลิกนินจากชานอ้อย
- การยับยั้งโรคแอนแทรคโนสด้วยสารสกัดแทนนินจากใบฝรั่ง
- การยับยั้งเชื้อราในกระติบข้าวที่ทำจากอกไม้คล้าเหลือทิ้งด้วยน้ำส้มสายชูหมักจากเปลือกสับปะรด ย้อมสีธรรมชาติ
- การยับยั้งเชื้อรา Fusarium sp. สาเหตุเกิดโรคเหี่ยวในพืชมะเขือเทศด้วยเชื้อราปฏิปักษ์
- การยับยั้งภาวะการติดเชื้อด้วยสารสกัดจากงวงตาล
- การยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ที่เป็นสาเหตุการเน่าเสียของเนื้อสัตว์แช่เย็น โดยใช้กระดาษเคลือบสารสกัดแทนนินจากพืช
- การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา Aspergillus flavus ด้วยกระเทียม กระเพรา และโหระพา
- การพัฒนาไฮโดรเจลฟิล์มเคลือบผิวแทนนินจากใบฝรั่งกับไคโตซาน เพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพของผลมะเขือเทศพันธุ์เชอร์รี่
- การพัฒนาไฮโดรเจลที่ดูดซับปาเปนเพื่อการรักษาอาการตาปลา
- การพัฒนาไฮโดรเจลจากแป้งมันสำปะหลังและพอลิไวนิลแอลกอฮอล์สำหรับการเกษตร
- การพัฒนาไบโอพลาสติกจากเส้นใยเซลลูโลสร่วมกับน้ำยางธรรมชาติ
- การพัฒนาไบโอพลาสติกจากเส้นใยเซลลูโลสร่วมกับน้ำยางธรรมชาติ
- การพัฒนาไบโอพลาสติกจากเปลือกมะพร้าวร่วมกับสารสกัดหยาบจากชาเขียวเพื่อลดการออกซิเดชันในผลไม้
- การพัฒนาโมเดลสำหรับการคัดแยกโรคผิวหนังที่มีจำนวนชุดข้อมูลน้อยด้วยการเรียนรู้เชิงลึก
- การพัฒนาโมเดลด้วยการเรียนรู้ด้วยเครื่องเพื่อพยากรณ์ระยะของโรคมะเร็งตับและโรคตับ
- การพัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้เข้ารหัสข้อความโดยใช้ Josephus Algorithm
- การพัฒนาโปรแกรมสำหรับการออกแบบจำลองโครงสร้างของโปรตีนโดยใช้ภาษาไพธอน
- การพัฒนาโปรแกรมวิเคราห์ความรู้สึกจากข้อความในทวิตเตอร์เพื่อปรับปรุงการตลาดโดยใช้ machine learning
- การพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ในการตรวจหาโรคปอดอักเสบ โรงถุงลมโป่งพอง และมะเร็งปอดโดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
- การพัฒนาแอพพลิเคชั่น Blynk เพื่อเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าและตรวจวัดค่าต่างๆภายในบ้าน
- การพัฒนาแอปพลิเคชันในการสำรวจและเก็บข้อมูลสิ่งมีชีวิตเพื่อบ่งบอกคุณบอกคุณภาพน้ำ
- การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเพื่อจัดเก็บข้อมูลเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Medical Record - EMR)ของผู้ป่วยรายบุคคล
- การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพอุปกรณ์ตรวจวัดฝุ่น PM2.5
- การพัฒนาและผลิตอิฐบล็อกเส้นใยกากมะพร้าว ฟางข้าว และชานอ้อย
- การพัฒนาและทดสอบอายุการเก็บรักษาสูตรของเหลว (Oil-based formulation) เชื้อราไตรโตเดอร์มา (Trichoderma sp.) เพื่อเป็นสารขีวภัณฑ์
- การพัฒนาและทดสอบคุณสมบัติของวัสดุทำเบาะรองนอนจากเส้นใยผักตบชวาเคลือบยางพารา สำหรับลดปัญหาแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียง
- การพัฒนาแมสกรองฝุ่นจากเส้นใยใบกาบกล้วย
- การพัฒนาแผ่นไฮโดรเจลสำหรับการป้องกันแผลกดทับ
- การพัฒนาแผ่นรองฝ่าเท้าเพื่อลดแรงกระแทก ลดกลิ่น ต้านแบคทีเรีย
- การพัฒนาแผ่นรองคลานจากนำ้ยางพาราและวัสดุทางการเกษตร
- การพัฒนาแผ่นฟิล์มระงับกลิ่นปาก จาก Carboxymethyl Cellulose ในเปลือกทุเรียน
- การพัฒนาแผ่นฟิล์มบรรเทาอาการปวดจากสารสกัดแคปไซซินในพริกขี้หนูร่วมกับสารเมือกจากเมล็ดแมงลักและว่านหางจระเข้
- การพัฒนาแผ่นดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สเรือนกระจกอื่น ๆ ด้วยถ่านกัมมันต์เจือไนโตรเจนผลิตจากผักตบชวาที่ผ่านการฉายรังสี
- การพัฒนาแผ่นดูดซับคราบน้ำมันจากไส้หญ้าปล้องไฮมีนาซีนโดยผ่านกระบวนการดัดแปรความร้อน