โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2561 หน้าที่ 26
- การศึกษาประสิทธิภาพของไส้กรองน้ำจาก Diatomaceous earth
- การศึกษาประสิทธิภาพของใบขนุนในการลบร้อยไหม้ของเตารีด
- การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องยึดเกาะที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายพวงองุ่น
- การศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากคลื่นทะเล
- การศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ครอบหูลดเสียงจากวัสดุธรรมชาติ
- การศึกษาประสิทธิภาพของหลอดดูดน้ำจากเปลือกข้าวโพด
- การศึกษาประสิทธิภาพของสีย้อมผ้าจากขมิ้น อัญชันและกระเจี๊ยบ
- การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่าย Spirulina plantensis และ สาหร่าย Phormidium sp. ที่ตรึงในวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นที่มีผลต่อการบำบัดน้ำเสียหน้าโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ(ร่องน้ำฝั่งตะวันตก ถ.มหิดล)
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารเคลือบไม้จากน้ำมันเปลือกส้มต่อสารสกัดจากเปลือกเงาะใน อัตราส่วนที่แตกต่างกัน
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากใบกระดังงาต่อการเปลี่ยนแปลงของผลึก แคลเซียมออกซาเลตที่เป็นพิษต่อร่างกายในฟิโลเดนดรอน
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีผลต่อการกำจัดไรไข่ปลาในเห็ดบด
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีผลต่อการกำจัดไรไข่ปลาในเห็ดบด
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีผลต่อการกำจัดไรไข่ปลาในเห็ดบด
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร ในการยับยั้งเชื้อ Sclerotium rolfsii และ Bipolaris oryzae ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคข้าว
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร ในการยับยั้งเชื้อ Sclerotium rolfsii และ Bipolaris oryzae ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคข้าว
- การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากกระเจี๊ยบเขียวที่มีผลต่อการรักษาสภาพ การกักเก็บน้ำ และอัตราการงอกของเมล็ดพะยูง
- การศึกษาประสิทธิภาพของวัสดุจากธรรมชาติเพื่อใช้ในการทำโฟมชีวภาพ
- การศึกษาประสิทธิภาพของฟิล์มบางจากเปลือกทุเรียนร่วมกับปฏิกิริยาโฟโตคะตะไลซิสในการกำจัดสารพิษตกค้างคาร์เบนดาซิมในดิน
- การศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดผสมไบโอชาร์สำหรับเสริมการเจริญเติบโตของต้นถั่วเหลืองพันธุ์นครสวรรค์ 1
- การศึกษาประสิทธิภาพของนาโนซิงค์ออกไซด์ต่อการผลิตผักกลุ่มไมโครกรีน
- การศึกษาประสิทธิภาพของถ่านและเปลือกไข่ในการป้องกันหอยทาก
- การศึกษาประสิทธิภาพของถ่านที่ทำจากไผ่บงที่มีผลต่อการกำจัดสารตกค้างในพืชผัก
- การศึกษาประสิทธิภาพของถุงเพาะชำจากเยื่อเซลลูโลสของเปลือกสับปะรดและซังข้าวโพด
- การศึกษาประสิทธิภาพของถุงเพาะชำจากเยื่อเซลลูโลสของเปลือกสับปะรดและซังข้าวโพด
- การศึกษาประสิทธิภาพของต้นธูปฤาษีในการดูดซับโลหะหนักชนิดต่างๆในน้ำเสีย
- การศึกษาประสิทธิภาพของด้วงมูลสัตว์(กุดจี่)ที่มีผลต่อการลดปริมาณก๊าซมีเทน
- การศึกษาประสิทธิภาพของขนสัตว์ในการดูดซับน้ำมันบนผิวน้ำ
- การศึกษาประสิทธิภาพของการผลิตพลาสติกชีวภาพคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส จากเปลือกเมล็ดมะม่วง
- การศึกษาประสิทธิภาพของการผลิตน้ำผึ้งด้วยการปรับปรุงวิธีการเลี้ยงโดยใช้วิธีทางกายภาพและวิธีกระตุ้นเชิงเคมี
- การศึกษาประสิทธิภาพของการดูดซับสายละลายเหล็กที่ปนเปื้อนในน้ำบาดาลด้วยถ่านจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับสารสกัดเพคตินจากเม็ดมะขาม
- การศึกษาประสิทธิภาพของกังหันน้ำในแนวนอนที่ผลิตกระแสไฟฟ้าและบำบัดน้ำเสียได้
- การศึกษาประสิทธิภาพของกระเบื้องจากพลาสติกรีไซเคิลและยางพารา
- การศึกษาประสิทธิภาพของกระดาษซับน้ำมันจากเส้นใยผักตบชวา
- การศึกษาประสิทธิภาพการย่อยสลายพอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต ด้วยหนอนแว็กซ์
- การศึกษาประสิทธิภาพการย่อยพลาสติกชนิดโพลิเอทธิลินของแบคทีเรียที่ถูกคัดแยกจากลำไส้หนอนผีเสื้อกลางคืน(Galleria mellonella)
- การศึกษาประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร ของสารสกัดจากแอปเปิล
- การศึกษาประสิทธิภาพการป้องกันความร้อนของซีเมนต์บล็อกผสมต้นธูปฤาษีและหญ้าแฝก
- การศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดดินกร่อยบริเวณบ่อกุ้งด้วยน้ำหมักจากเปลือกสับปะรด
- การศึกษาประสิทธิภาพการทนน้ำของพลาสติกชีวภาพจากผักตบชวา
- การศึกษาประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของเปลือกแก้วมังกร
- การศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับความชื้นของซิลิกาจากเเกลบ
- การศึกษาบรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากเส้นใยสับปะรดที่มีซิลิก้าจากแกลบข้าวเพื่อลดความชื้นในการขนส่งกล้วยหอม
- การศึกษาบรรจุภัณฑ์ขนส่งมะละกอเลียนแบบลำดับฟีโบนักชีของเมล็ดดอกทานตะวัน
- การศึกษาน้ำหมักหน่อไม้ดองต่อการกำจัดศัตรูพืชในชุมชน
- การศึกษาตัวยับยั้งที่ออกฤทธิ์ดีกับโปรตีน 3OA1 เพื่อยับยั้งการทำงานของโรคพิษสุนัขบ้า
- การศึกษาตัวยับยั้งที่ออกฤทธิ์ดีกับโปรคีน 3OA1 เพื่อการยับยั้งการทำงานของโรคพิษสุนัขบ้า
- การศึกษาฐานติดตั้งแผ่นโซล่าเซลล์ติดตามดวงอาทิตย์แบบ 2 แกน
- การศึกษาฐานติดตั้งแผ่นโซล่าเซลล์ติดตามดวงอาทิตย์แบบ 2 แกน
- การศึกษาฐานติดตั้งแผ่นโซล่าเซลล์ติดตามดวงอาทิตย์แบบ 2 แกน
- การศึกษาชนิดไฟฟ้า และขนาดของความต่างศักย์ไฟฟ้า ในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นอ่อนทานตะวัน