โครงงานวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาชีววิทยา หน้าที่ 6
- การผลิตรีคอมบิแนนท์โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของข้าวหอมมะลิไทย
- ปัจจัยการเจริญเติบโตคล้ายอินซูลินในเลือดจระเข้พันธุ์ไทย (Crocodylus siamensis)
- การศึกษาสารสกัดหยาบจากใบมะระขี้นก (Momordica charantia) ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์
- การศึกษาความคงทนต่อสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมของเชื้อ Burkholderia pseudomallei
- การศึกษาความคงทนต่อสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมของเชื้อBurkholderia pseudomallei
- สารเร่งรากกาแฟ
- การสกัดโปรตีนคอลลาเจนจากหอยเชอรี่ เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของโปรตีนคอลลาเจนที่ได้จากวัว
- การคัดแยกและการคัดเลือกเชื้อราที่แยกได้จากดินเพื่อการควบคุมเชื้อราก่อโรคในข้าวโพด
- การโคลนและการแสดงออกของเอนไซม์ไดเซอร์ ในกุ้งกุลาดำ
- ผลของ 1- MCP ต่ออายุการปักแจกันของกล้วยไม้ลูกผสมพันธุ์ Mokara Jairuk Gold
- การศึกษาราทำลายแมลงในสกุล Metarhizium ที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในการกำจัดแมงสาบอเมริกัน ( Periplaneta americana)
- อธิบายอัตราการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งโดยอาศัยสมการทางคณิตศาสตร์ (Homogenous Cancer Model)ที่เหมาะสมในเซลล์มะเร็งระยะต่างๆ”
- Phytotoxicity and Accumulation of Cadmium in Brassica chinensis L.
- ศึกษาบทบาทหน้าที่ oxidoreductase ในสภาวะ oxidative stress ของเชื้อ Burkholderia pseudomallei เปรียบเทียบกับเชื้อกลายพันธุ์ ppk, rpoS และ quorum sensing
- ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำและสาหร่ายในคลองสำโรง
- การศึกษาคารีโอไทป์ของพืชวงศ์ขิงระหว่างไพล (Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr) และ ไพลดำ (Zingiber ottensii Valeton)
- ผลกระทบของสวนป่าหรือพื้นที่สีเขียวต่อภูมิอากาศท้องถิ่นของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- การศึกษาความเป็นพิษของสารสกัดจากขมิ้นเครือ
- การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสีตัวในปลากัดไทย(Betta splendens)
- การพัฒนาวิธีการดองใสลูกปลานิล (Oreochromis niloticus) เพื่อการค้า
- สุขอนามัยของร้านที่มีผลต่อเชื้อ Sraphylococcuc aureaus
- Cadmium Transport Systems in Saccharomyces cerevisiae
- การเปรียบเทียบลักษณะของหน่อไม้ดองและเวลาในการหมักดอง
- ผลยับยั้งของสารพิษไมโครซิสตินจากสาหร่าย Microcystis aeruginosa Kuzt ต่อแบบทีเรียก่อโรคและยีสต์บางชนิด
- พาวเวอร์ โอทู กู้โลกร้อน Super Power O2 Max
- การระบุชนิดแบคทีเรียที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหารด้วยการตรวจหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของ ยีน 16S rRNA
- สันติภาพสีเขียว Green peace
- อิทธิพลของปัจจัยทางสภาวะแวดล้อมต่อลักษณะชุมชนสิ่งมีชีวิตของมดและพฤติกรรมการหาอาหารของมดคันไฟ Solenopsis geminata ณ ศาลายา จังหวัดนครปฐม
- การศึกษาความเป็นพิษ(Phytotoxicity)ของสารสกัดสะเดาต่อการงอกของเมล็ดพืชและการเจริญของต้นกล้า
- เรารู้ว่าคุณร้อน (I know you feel hot)
- กระถางเพาะชำจากวัสดุธรรมชาติ
- การเติบโตของต้นโกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) ที่ระยะปลูกแตกต่างกัน
- การพัฒนาระบบการนำส่งยีนโดยใช้ Agrobacterium tumefaciens สู่ ใบยาสูบ (Nicotiana tobaccum) และผำน้ำ (Wolffia globosa)
- การสำรวจประชากรแบคทีเรียเส้นใยและโปรโตซัวในระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งของโรงพยาบาลสงขลา
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ Bulbophyllum affine
- คุณค่าของพลังงานแสงอาทิตย์ Value of Solar Energy
- พิษเบื้องต้นของสารสกัดจากเมล็ดโพธิ์ทะเล (Thespesia populnea) ที่มีต่อหนู (Mus musculus)
- ผลของสารสกัดจากจากเมล็ดและกลีบผลของฝักกระเจี๊ยบมอญ (Abelmoschus esculentus L.) ต่อ เซลล์มะเร็ง
- การศึกษาตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์จระเข้วงศ์ Goniopholididae ในหลุมขุดค้นภูเวียง (หมวดหินเสาขัว) จังหวัดขอนแก่น
- Biology of terrestrial orchid Habenaria dentata (Sw.) Schltr.
- คุณภาพชีวิตสัตว์ป่า : ศึกษากรณีรังนกปากห่าง
- การใช้ Trichoderma spp. และ Bacillus spp. ในการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum capsici สาเหตุโรค แอนแทรคโนสของพริก
- The study of gonadal histology of Strombus canarium (Gastropoda:Mesogastropoda)
- ผลของสาร TPA และอินเทอเฟรอน-แกรมมา ต่อการแสดงออกของยีน Cyclooxygenase-2 (COX-2) ใน ฮาคัดเซลล์ไลน์ (HaCaT cell line)
- ผลของสาร azadirachtin ต่อความผิดปกติระดับพันธุกรรมของ coelomocyte ของไส้เดือนดิน
- การศึกษาเพื่อลดปริมาณและสัดส่วนการเกิดโปรตีนที่มีลักษณะการจัดเรียงโครงสร้างที่ผิดปกติในการ แสดงออกของยีน ดี-ฟีนิลกลัยซีน อะมิโนทรานสเฟอเรสในแบคทีเรีย Escherichia coli
- In vitro sensitivity of Plasmodium falciparum Thai isolates to isoquine, amodiaquine, desethylamodiaquine and chloroquine
- ปัจจัยทางด้านนิเวศวิทยาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดสกุล Phelinus spp. กรณีศึกษา บริเวณสวนป่า กระถินณรงค์ เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
- มวลชีวภาพเหนือดินในพื้นที่ที่มีการทดแทนในระบบนิเวศบริเวณลุ่มน้ำย่อยน้ำว้า จังหวัดน่าน โดยสร้างแบบจำลองพลวัตรเชิงระบบ
- ผลของไคโตซานต่อการเจริญของโปรโตคอร์มเอื้องสายสามสีในสภาพปลอดเชื้อ