ศึกษาวิธีการใช้น้าหมักชีวภาพในการควบคุมแมลงวันในฟาร์มไก่ไข่แบบระบบเปิด
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
กอบกิตติ หาพันธ์, จิรญาดา ข้องจิตร์
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์
อาภรณ์ รับไซ
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ในประเทศไทยมีการเลียงไก่ไข่อย่างแพร่หลายในทุกภูมิภาค บางฟาร์มผูกสัญญากับบริษัทใหญ่ บาง ฟาร์มเป็นผู้ขายรายย่อยในท้องถิ่น และผู้ขายไข่ไก่รายย่อยในท้องถิ่นมักท้าฟาร์มไก่ไข่แบบระบบเปิด ทังเลียง ไก่ไข่ปล่อยบนพืนดิน และเลียงไก่ไข่ในกรง เนื่องจากมีลมผ่านเข้าออก โล่งไม่ทึบ และที่ส้าคัญต้นทุนต่้ากว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการเลียงไก่ไข่แบบระบบปิด ปัญหาที่มักจะเกิดขึนในฟาร์มไก่ไข่แบบระบบเปิดคือ กลิ่นจาก มูลไก่ไข่ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง อีกทังท้าให้บริเวณฟาร์มกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของ แมลงวัน ซึ่งเป็นสัตว์พาหะน้าโรค ตัวอย่างเช่น โรคอหิวาตกโรค โรคคุดทะราด โรคเรือน ไทฟอยด์ (Typhoid) อุจจาระร่วงอย่างแรง(Cholera) อุจจาระร่วง ตาแดง ริดสีดวงตา(Trachoma) โรคบิดมีตัว โรคบิดไม่มีตัว โปลิโอ แอนเทร็กซ์(Anthrax) วัณโรค พยาธิปากขอ พยาธิไส้เดือนตัวกลม เป็นต้น ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของมนุษย์ และไก่ ทังคุณภาพ และความสะอาดของไข่ไก่ที่ผลิตได้ลดลงไป ท้าให้ผู้บริโภคมีความเสี่ยงต่อการ เจ็บป่วย การได้สัมผัสเชือโรคอีกด้วย
จากการศึกษาข้อมูลเรื่องน้าหมักชีวภาพพบว่า น้าหมักชีวภาพสามารถผลิตเองได้ง่ายดาย วัตถุดิบหลัก ตัวอย่างเช่น ผัก ผลไม้ และเศษอาหารต่างๆ ที่หาได้ทั่วไปตามบ้าน และน้าหมักชีวภาพนีสามารถใช้ควบคุม กลิ่นในคอกสุกรได้ (อรอนงค์ พิมพ์ค้าไหล,จรัญ ใจลังกา,จ้ารัส ใจลังกา,2551) น้าหมักชีวภาพใช้ในการควบคุม การเจริญเติบโตของแมลงและจุลินทรีย์ต่างๆได้ (สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ,2555) และน้าหมักชีวภาพช่วย แก้ปัญหาแมลงศัตรูพืช โรคระบาดต่างๆ ช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุ และที่ส้าคัญสามารถก้าจัดแมลงโดยไปตัด