ศึกษาอุณหภูมิในการสกัดเพคตินและประยุกต์ใช้จากเปลือกแตงโม
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
นารดา บุญณรงค์, กฤติยา ขลังธรรมเนียม
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์
ฐิตารีย์ ทองเทียนชัย
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ในปัจจุบันแตงโมเป็นผลไม้ที่ผู้คนรับประทานกันเป็นจ านวนมาก โดยเปลือกแตงโมเป็นของเสีย เหลือ ทิ้งจากโรงอาหารในโรงเรียน แหล่งค้าขายหรืออุตสาหกรรมต่างๆ ถูกทิ้งโดยไม่ค านึงถึงประโยชน์ที่จะสามารถ น าไปใช้ต่อได้ จากการศึกษาสารในเปลือกแตงโม พบว่าในเปลือกแตงโมมีเพคติน ซึ่งเป็นสารให้ความหนืด และ ท าให้เกิดการคงตัว ในผลิตภัณฑ์อาหารหลายประเภท เช่น เครื่องปรุง แยม เยลลี่ นมและโยเกิร์ต เพคติน สามารถน ามาใช้เป็นฟิล์มที่กินได้ และฟิล์มที่ย่อยสลายได้ ท าให้เพคตินเป็นที่ต้องการของทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยเองมีการน าเข้าจากต่างประเทศเป็นปริมาณมากในแต่ละปีและมีราคาค่อนข้างแพง คณะผู้จัดท า จึงสนใจที่จะน าเปลือกแตงโมที่เหลือทิ้งมาสกัดที่อุณหภูมิต่างๆ เพื่อหาอุณหภูมิที่สามารถสกัดเพคตินออกมา ได้มากที่สุดจากนั้นน ามาเปรียบเทียบกับเพคตินทางการค้า และน าไปประยุกต์ใช้ในการท าแคปซูล ซึ่งเป็น แคปซูลที่เหมาะส าหรับผู้ที่มีข้อจ ากัดทางอาหาร เช่น มังสวิรัติ หรือผู้นับถือศาสนาอิสลาม โครงงานนี้เป็นโครงงานต่อยอดจากการสกัดเปลือกแตงโม และเปลือกทุเรียน ซึ่งได้ท าการสกัด อุณหภูมิสูงสุดไว้เพียงแค่ 90 องศาเซลเซียส ซึ่งได้เสนอว่าหากท าการเพิ่มอุณหภูมิในการสกัดให้สูงขึ้น ปริมาณ เพคตินจะเพิ่มขึ้นด้วย