การดูดซับและลดปริมาณไอออนเหล็กในน้ำด้วยมันสำปะหลัง
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
วีรภัทร วารีสมานคุณ, ชยากร มลรักษา, ณิชาภัทร วงค์อินทร์
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์
นิรันดร์ เหลืองสวรรค์
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
น้า เป็นปัจจยัสา คญั ต่อสิ่งมีชีวิตที่ใชใ้นการอุปโภคบริโภคแต่น้า ในแหล่งธรรมชาติโดยทวั่ ไปมีเหล็กไอออนมากนอ้ยต่างกนั ในแต่ละพ้ืนที่
ส่วนน้า ที่มีค่าเหล็กเกินค่ามาตรฐาน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร นา ไปอุปโภคอาจทา ให้เกิดรอยหมองคล้า บนเส้ือผา้และเกิดเป็นรอยสนิมบนภาชนะที่
ใช้อีกท้งัยงัเกิดการอุดตนัในท่อหรือสายยาง หรือถา้มีการนา ไปบริโภคจะทา ให้เกิดผลเสียต่อร่างกายเช่น ภาวะเหลก็เกิน ซ่ึงเกิดจากการดูดซึม
เหล็กจากลา ไส้เขา้สู่กระแสเลือด ในกระแสเลือดจะมีเหล็กจบักบัโปรตีนทรานสเฟอริน(Transferrin) ซ่ึงสร้างจากตบั ถา้เกิดอาการเหล็กไป
สะสมที่ตบั มากเกินไปจะทา ให้ตบัแขง็ (องคก์ ารเภสชักรรม;2552) ซ่ึงในการตรวจสอบตอ้งใชชุ้ดทดสอบไอออนของเหล็กในน้า และมีน้า ยาที่
จา เป็นเพื่อใชใ้นการทดสอบ โดยการหยดน้า ยาลงในน้า ที่ทดสอบ น้า จะมีการเปลี่ยนสีภายใน 1 นาทีชุดทดสอบที่ใชม้ีราคาสูงประมาณ 5200
บาท ส่วนการหาวิธีลดไอออนเหล็กในน้า โดยใชก้ารพน่ น้า ผ่านอากาศและกรองสารละลายเหล็กหรือตะกอนดว้ยกรวยกรอง มกัจะพบปัญหา
ของสารละลายเหล็กในน้า ที่ไม่สามารถตกตะกอนไดห้ มด ทา ให้ระบบกรองเกิดการอุดตนัอยา่ งรวดเร็ว และอีกวีที่ใชค้ือ DMI -65 เป็ นสาร
กรองที่ได้รับการออกแบบโดยเฉพาะให้สามารถกา จดัเหล็กในน้า ไดอ้ยา่ งมีประสิทธิภาพ แต่DMI –65 มีราคาสูงถึง 2500 บาท
ดงัน้นัผทู้ ดลองจึงมีแนวความคิด ที่จะนา แทนนินไปตรวจสอบหาปริมาณไอออนของเหล็กในน้า โดยสารแทนนินเป็นกลุ่มของสารประกอบที่พบใน
ส่วนต่างๆของพืชอาทิเช่น เปลือก ตน้ ใบ ผลอีกท้งัยงัพบไดใ้นพืชทวั่ ไป(สรศกัด์ิ เหลียวไชยพันธุ์;2533)เป็ นต้น โดยเฉพาะมันส าปะหลังมีแทนนิน 2
ชนิด คือไฮโดรไลซ์แทนนิน (hydrolysable tennins) ซ้ึนเป็นกลูโคสิดิก-ไกลโคไซด์ของโพลิแกลลอย์ไกลโคไซด์(ขวัญใจ,2535)พบมากในส่วนใบฝักและ
ส่อนที่ขดูออกมาจากปกติเมื่อตน้ ไมไ้ดร้ับอันตรายและคอนเดนส์ (Condensed tennins)เป็นสารที่มีโมเลกุลใหญแ่ ละซบั ซอ้ นมากกวา่ ไฮโครไลซ์แทนนิน
คอนเดนส์แทนนินเป็นพอลิเมอร์ของฟลาโวนอยดท์ ี่เกิดจากการรวมตวัของพวกFlavan-3-ol (ขวัญใจ,2535)พบมากในส่วนเปลือกและแก่นไมเ้ป็นส่วน
ใหญ่และตน้ มนั สา ปะหลงัเมื่อนา ไปทา เป็นถ่านกา มนั ต์ซ่ึงมีกลไกในการดูดซบัไอออนเหล็ก บนพ้ืนผิวของถ่านเป็นแบบหลายช้นั แสดงให้เห็นวา่ มี
พ้ืนผิวขอวตวัดูดซบั ที่ใชใ้นการดูดซบั มีปริมาณมาก(ปัญญา,2556)