การสกัดไคโตซานจากเกล็ดปลาเพื่อกระดาษซับหน้ามันจากไคโตซาน

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พิมพ์ศิริ เชื้อนุ่น, กชกร กุลสิงห์

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์

วิภาวี ศรีหานนท์

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี

ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2560

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

ในปัจจุบนั เราจะพบไคโตซานไดอ้ยา่ งแพร่หลายเนื่องจากมีการนา ไคโตซานไปใชใ้นดา้นต่างๆไม่วา่

จะเป็นดา้นการแพทย์สิ่งแวดลอ้ ม การเกษตรเวชภณั ฑ์และอื่นๆอีกมากมายและส่วนมากจะสกดัไคโตซานมาก

จากเปลือกกุง้ กระดองปูและแกนปลาหมึก ซ่ึงมีราคาค่อนขา้งสูงและมีอยใู่ นบางพ้ืนที่เท่าน้นั

ไคโตซาน เป็นวสัดุชีวภาพเกิดในธรรมชาติจดัอยใู่ นกลุ่มคาร์โบไฮเดรตผสมที่มีอนุพนัธ์ของน้า ตาล

กลูโคสที่มีธาตุไนโตรเจนติดอยดู่ ว้ยทา ใหม้ีคุณสมบตัิที่โดดเด่นและหลากหลายซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงและยงั

ยอ่ ยไดต้ามธรรมชาติจึงปลอดภยัต่อมนุษย์สัตว์และสิ่งแวดลอ้ ม ซ่ึงไคโตซานเป็นโพลีเมอร์ของหน่วยยอ่ ยที่ชื่อ

วา่ glucosamine มากกวา่ 60%ข้ึนไป (ในธรรมชาติยอ่ มมีไคตินและไคโตซาน ประกอบอยใู่ นโพลีเมอร์ที่เป็น

สายยาวในสัดส่วนต่างๆกนั ถา้มีปริมาณ glucosamine นอ้ยกวา่ 40% จะสามารถละลายไดใ้นสายอินทรียต์ ่างๆ

น้นั หมายถึงไคโตซานมากกวา่ 60%)ไคโตซานมีประโยชน์ในดา้นต่างๆมากมายเช่น ดา้นการแพทย์นา ไปทา

เป็นแผน่ ไคโตซานที่ปิดปากแผลจากการผา่ ตดัเฉพาะที่

ทางผจู้ดัทา ไดม้ีการสังเกตเห็นวา่ เกล็ดปลา ซ่ึงมีคุณสมบตัิคลา้ยกบั เปลือกกุง้ หาไดต้ามทอ้งถิ่น อีกท้งั

ยงัราคาถูกอาจจะมีไคโตซานอยู่จึงตอ้งการจะศึกษาวา่ ในเกล็ดปลาจะมีไคโตซานอยหู่ รือไม่ เพื่อที่จะไดล้ด

ปริมาณค่าใชจ้่ายในการซ้ือไคโตซาน และสร้างประโยชน์จากเกล็ดปลาซ่ึงเป็นสิ่งที่เราไม่ไดใ้ชแ้ละทิ้งไป