สร้างกำไรอย่างนักธุรกิจ

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

ดลพร เอียดชะตา, กฤติมา นาคพล, ปิ่นมนัส มิ่งเมือง

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์

ประไพพร ถิ่นนัยธร, วิจิตรา เกษา

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนวิเชียรมาตุ

ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2566

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานคณิตศาสตร์ “Cost - Volume - Profit Analysis Application สร้างกำไรอย่าง

นักธุรกิจ” เป็นโครงงานประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิเชียรมาตุ ที่จัดทำขึ้นเพื่อนำมาศึกษาจำนวนชิ้นที่ผลิตในแต่ละวันที่ทำให้ได้กำไรสูงสุดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ประกอบการในการตัดสินใจผลิตสินค้าออกมาจำหน่ายในแต่ละวัน ทำให้ร้านค้าต้องวางแผนในการคำนวณการจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล และทางคณะผู้จัดทำยังได้คิดค้นแบบรูปทั่วไป และนำแบบรูปไปสร้าง Smart Platform และ Net profit เพื่อเผยแพร่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจนำมาประยุกต์ใช้ต่อไป ผู้จัดทำได้จัดทำความเข้าใจเนื้อหาของการหาแบบรูปของการหายอดขาย ได้ดังนี้ กำหนดให้ในแต่ละวัน จำนวนที่ร้านผลิตสินค้าได้ m ชิ้น

ราคาของสินค้าชิ้นละ n บาท ยอดขายสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงจำนวน p ชิ้น ราคาขายของสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง q บาท เมื่อ pq < 0 ต้นทุนคงที่ต่อวัน s บาท ราคาทุนสินค้าต่อชิ้น r บาท ราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด qx บาท จำนวนสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด px ชิ้น จะต้องขึ้นราคา h เท่าเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด รายได้สูงสุดที่จากการขาย k บาท จะได้จำนวนชิ้นที่ต้องขายได้ในแต่ละวัน m+px ชิ้น ยอดขายของสินค้าที่ขายได้ต่อชิ้น n+qx บาท f(x) แทน รายได้ที่จากการขายสินค้า

f(x) = จำนวนชิ้นที่ต้องขายในแต่ละวัน x ราคาขาย = pqx2 + (mq + np)x + mn

จะได้ รายได้ของสินค้าในรูปฟังก์ชันกำลังสอง ราคาของสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง x บาท ที่ทำให้ได้กำไรมากที่สุด นั่นคือ การหาจุดสูงสุด รูปทั่วไปของฟังก์ชันกำลังสอง f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ a ≠ 0 การหาจุดยอดของกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง(h,k)=(-b)/2a,(4ac-b^2)/4a

จะได้โครงงานคณิตศาสตร์ “Cost - Volume - Profit Analysis Application สร้างกำไรอย่าง

นักธุรกิจ” เป็นโครงงานประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิเชียรมาตุ ที่จัดทำขึ้นเพื่อนำมาศึกษาจำนวนชิ้นที่ผลิตในแต่ละวันที่ทำให้ได้กำไรสูงสุดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ประกอบการในการตัดสินใจผลิตสินค้าออกมาจำหน่ายในแต่ละวัน ทำให้ร้านค้าต้องวางแผนในการคำนวณการจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล และทางคณะผู้จัดทำยังได้คิดค้นแบบรูปทั่วไป และนำแบบรูปไปสร้าง Smart Platform และ Net profit เพื่อเผยแพร่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจนำมาประยุกต์ใช้ต่อไป ผู้จัดทำได้จัดทำความเข้าใจเนื้อหาของการหาแบบรูปของการหายอดขาย ได้ดังนี้ กำหนดให้ในแต่ละวัน จำนวนที่ร้านผลิตสินค้าได้ m ชิ้น

ราคาของสินค้าชิ้นละ n บาท ยอดขายสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงจำนวน p ชิ้น ราคาขายของสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง q บาท เมื่อ pq < 0 ต้นทุนคงที่ต่อวัน s บาท ราคาทุนสินค้าต่อชิ้น r บาท ราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด qx บาท จำนวนสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด px ชิ้น จะต้องขึ้นราคา h เท่าเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด รายได้สูงสุดที่จากการขาย k บาท จะได้จำนวนชิ้นที่ต้องขายได้ในแต่ละวัน m+px ชิ้น ยอดขายของสินค้าที่ขายได้ต่อชิ้น n+qx บาท f(x) แทน รายได้ที่จากการขายสินค้า

f(x) = จำนวนชิ้นที่ต้องขายในแต่ละวัน x ราคาขาย = pqx2 + (mq + np)x + mn

จะได้ รายได้ของสินค้าในรูปฟังก์ชันกำลังสอง ราคาของสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง x บาท ที่ทำให้ได้กำไรมากที่สุด นั่นคือ การหาจุดสูงสุด รูปทั่วไปของฟังก์ชันกำลังสอง f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ a ≠ 0 การหาจุดยอดของกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง(h,k)=(-b)/2a,(4ac-b^2)/4a

โครงงานคณิตศาสตร์ “Cost - Volume - Profit Analysis Application สร้างกำไรอย่าง

นักธุรกิจ” เป็นโครงงานประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิเชียรมาตุ ที่จัดทำขึ้นเพื่อนำมาศึกษาจำนวนชิ้นที่ผลิตในแต่ละวันที่ทำให้ได้กำไรสูงสุดเพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ประกอบการในการตัดสินใจผลิตสินค้าออกมาจำหน่ายในแต่ละวัน ทำให้ร้านค้าต้องวางแผนในการคำนวณการจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล และทางคณะผู้จัดทำยังได้คิดค้นแบบรูปทั่วไป และนำแบบรูปไปสร้าง Smart Platform และ Net profit เพื่อเผยแพร่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจนำมาประยุกต์ใช้ต่อไป ผู้จัดทำได้จัดทำความเข้าใจเนื้อหาของการหาแบบรูปของการหายอดขาย ได้ดังนี้ กำหนดให้ในแต่ละวัน จำนวนที่ร้านผลิตสินค้าได้ m ชิ้น

ราคาของสินค้าชิ้นละ n บาท ยอดขายสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงจำนวน p ชิ้น ราคาขายของสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง q บาท เมื่อ pq < 0 ต้นทุนคงที่ต่อวัน s บาท ราคาทุนสินค้าต่อชิ้น r บาท ราคาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด qx บาท จำนวนสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด px ชิ้น จะต้องขึ้นราคา h เท่าเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด รายได้สูงสุดที่จากการขาย k บาท จะได้จำนวนชิ้นที่ต้องขายได้ในแต่ละวัน m+px ชิ้น ยอดขายของสินค้าที่ขายได้ต่อชิ้น n+qx บาท f(x) แทน รายได้ที่จากการขายสินค้า

f(x) = จำนวนชิ้นที่ต้องขายในแต่ละวัน x ราคาขาย = pqx2 + (mq + np)x + mn

จะได้ รายได้ของสินค้าในรูปฟังก์ชันกำลังสอง ราคาของสินค้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง x บาท ที่ทำให้ได้กำไรมากที่สุด นั่นคือ การหาจุดสูงสุด รูปทั่วไปของฟังก์ชันกำลังสอง f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ a  0 การหาจุดยอดของกราฟของฟังก์ชันกำลังสองh=(-b)/2a=(-(mq+np))/(2(pq))=(-mq-np)/2pq และ k=f(h)

จะต้องขึ้นราคา h เท่าเพื่อให้ได้ยอดขายสูงสุด

รายได้สูงสุดที่จากการขาย k บาท

รายได้จากการขายแบบเดิม = mn

รายได้จากการขายแบบใหม่= (m + px)(n+qx)

รายได้จากการขายแตกต่างกัน= (m + px)(n+qx) – mn

กำไรขั้นต้นของการขายแบบเดิม = mn - mr

กำไรขั้นต้นของการขายแบบใหม่ = (m + px)(n+qx) – (m + px)r

กำไรขั้นต้นแตกต่างกัน = [(m + px)(n+qx) – (m + px)r] – [mn – mr]

กำไรสุทธิของจากการขายแบบเดิม= [mn – mr] – s

กำไรสุทธิของจากการขายแบบใหม่= [(m + px)(n+qx) – (m + px)r] – s

กำไรสุทธิแตกต่างกัน = {[(m + px)(n+qx) – (m + px)r] – s} – {[mn – mr] – s}

และนำแบบรูปที่ได้ไปสร้าง Net profit โดยใช้ Thunkable เพื่อเผยแพร่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจนำมาประยุกต์ใช้ต่อไปได้ ซึ่งมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด