การดูดซับคราบน้ำมันโดยกระดาษจากดอกธูปฤาษี
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เทพปัญญา เหมะธุลินทร์, ชานนท์ คล้ายจันทอง, นายศุภวิชญ์ กุลตังวัฒนา
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์
ศิลปกรณ์ จันทไชย
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานการดูดซับคราบน้ำมันโดยกระดาษจากดอกธูปฤาษี มีวัตถุประสงค์เพื่อกำจัดคราบน้ำมันจากท่อน้ำทิ้ง โดยวัสดุที่สามารถดูดซับน้ำมันได้จะต้องมีลักษณะขนเป็นหนามเล็กๆ เป็นเส้นใยฝอยๆ ทำให้มีพื้นที่ผิวได้มากไม่เปียกน้ำน้ำไม่เกาะทำให้ดูดซับน้ำมันได้ดี มีน้ำหนักเบาสามารถลอยน้ำได้เพื่อสามารถตักไปกำจัดทิ้ง ข้าพเจ้าจึงคิดนำมาแปรรูปเป็นกระดาษเพื่อง่ายต่อการซับน้ำมัน โดยนำดอกธูปฤาษี 2 กรัมแช่น้ำไว้ 1คืน จากนั้นก็นำมาทุบเพื่อให้ขนาดเล็กลงและนำไปต้มกับNaOH
ความเข้มข้น 2.5mol/l เป็นเวลา30นาที จากนั้นนำไปล้างNaOHออกโดยการนำไปแช่น้ำไว้แล้วถ่ายน้ำออก เมื่อนำมาเป็นแผ่นพบว่าไม่ดูดซับน้ำแต่ดูดซับน้ำมันได้ดีและยังติดไฟง่ายเนื่องจากประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศร้อนเเละตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะเป็นฤดูร้อนของประเทศไทย โดยเฉพาะในเดือนเมษายนบริเวณประเทศไทยได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์เต็มที่ ทำให้สภาวะอากาศจึงร้อนอบอ้าวอุณหภูมิในบ้านเรือนสูงทำให้ต้องเปิดพัดลม เปิดแอร์ตลอดทั้งวันเป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน การสูญเสียทรัพยากรพลังงานในเเต่ละปีทำให้ประเทศไทยเสียเงินในการซื้อพลังงานจากต่างประเทศ ผู้พัฒนาจึงคิดค้นการพัฒนารูปทรงเเละวัสดุอิฐป้องกันความร้อนจากแสงอาทิตย์ มีจุดประสงค์จัดทำขึ้นเพื่อลดอุณหภูมิในบ้านเรือนเเละนำวัสดุเหลือใช้เช่นเส้นใยมะพร้าวเเละเส้นใยบวบป็นเส้นใยที่มีการนำมาผสมใช้เป็นส่วนหนึ่งของวัสดุก่อสร้างแต่ก็ยังมีเส้นใยมะพร้าวเเละเส้นใยบวบบางส่วนที่ถูกเผาทิ้งเป็นผลให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อม จึงแก้ปัญหาโดยปรับเปลี่ยนรูปร่างเเละนำเส้นใยมะพร้าวมาทำเป็นส่วนประกอบของอิฐระบายความร้อนและเพิ่มคุณค่าให้กับขยะและวัสดุเหลือใช้ การพัฒนาเเบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1.กันความร้อนของอิฐ 2.การระบายความร้อนของอิฐ 1.การกันความร้อนของอิฐ คือการเอาเส้นใยมะพร้าวเเละเส้นใยบวบซึ่งเป็นฉนวนกันความร้อนมาผสมลงในอิฐซึ่งสมบัติของเส้นใยมะพร้าวเป็นเส้นใยที่มีปริมาณลิกนินที่เคลือบผิวเส้นใยมากที่สุดในบรรดาเส้นใยพืชทำให้เส้นใยมีความแข็งแรงเเละมีคุณสมบัติในการต้านทานปฏิกิริยาจากจุลินทรีย์ และการกัดกร่อนจากน้ำเค็มได้ดีรวมทั้งเส้นใยบวบมีคุณสมบัติดูดซับเสียงได้ดี ทำให้อิฐมีคุณสมบัติดูดซับเสียง มีน้ำหนักเบาเเละกันความร้อนได้ดีกว่าอิฐทั่วไป 2.การระบายความร้อนของอิฐ คือการปรับเปลี่ยนรูปร่างอิฐทั่วไปที่เป็นทรงสี่เหลี่ยมพัฒนาโดยทำให้ภายในกรวงกับสร้างโครงสร้างฟันปลาภายในอิฐทำให้อิฐกระจายเเรงได้ดีเมื่อมีสิ่งมากระทบเเละทำให้มีช่องอากาศถายในอิฐทำให้ลดการเก็บความร้อนของอิฐได้ดีขึ้น รวมทั้งสร้างสามเหลี่ยมที่มีมุมยื่นจากตัวอิฐทำมุม 20 องศา กับหน้าอิฐทำให้หน้าอิฐโดนเเสงเเดดเพียงบางส่วนเเละเกิดเงาในส่วนที่โดนบังหน้าอิฐจึงมีอุณภูมิที่ต่างกัน ทำให้ความร้อนเเทนที่จะถ่ายเทเข้าตัวบ้านกลับถ่ายเทออกในส่วนที่เกิดเงาเเทน เป็นการระบายความร้อนย้อนกลับออกภายนอกบ้านเเทน0