ทางหยุดยั้ง

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

ศุภกานต์ ชูภัทรพงศ์, ชัญญานุช เทียมศิริ

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์

สุภาพ แป้นดี

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนชลกันยานุกูล

ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2566

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

การศึกษาเรื่องวัสดุที่ส่งผลต่อแรงเสียดทานในการหยุดรถเพื่อหาวัสดุที่เหมาะสมต่อการทำทางหยุดยั้ง

มีจุดประสงค์ที่จะต่อยอดเป็นนวัตกรรม safety of heavy road พบว่ากรวดมีผลต่อการหยุดของวัตถุ โดยเมื่อ

ทำการปล่อยในระยะเดียวกันวัตถุขนาดเล็กจะไปได้ระยะทางไกลที่สุดกว่าวัตถุจะหยุด เนื่องจากกรวดมีความ

แข็ง และไม่อ่อนนุ่ม การยุบตัวของกรวดจึงขึ้นอยู่กับน้ำหนักของวัตถุ ทำให้ยิ่งมีมวลมากก็จะเกิดหลุมมาก แรง

ต้านการหมุนก็จะยิ่งมาก แต่หากวัตถุมีมวลน้อยพื้นผิวที่เป็นกรวดก็จะไม่เกิดการยุบตัวมากนัก จึงทำให้วัตถุ

เคลื่อนที่ไปได้ไกลมากกว่า จากการศึกษาคณะผู้จัดทำพบว่ากรวดเหมาะสมต่อการทำทางหยุดยั้งและทางคณะ

ผู้จัดทำต้องการทำทางหยุดยั้งที่อ่อนตัวมากขึ้นเพื่อให้เกิดแรงต้านทานการหมุนที่มากขึ้น

โดยทางคณะผู้จัดเล็งเห็นถึงมลภาวะปัญหาที่เกิดจากการเผาขยะรวมถึงโฟม จึงนำโฟมมาเป็นส่วนประกอดใน

นวัตกรรม safety of heavy road