โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการเปรียบเทียบการติดสีของโครโมโซมในเซลล์รากหอมด้วยสารสกัดแอนโทไซยานินจากข้าวไรซ์เบอร์รี หม่อน และบีทรูท

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสีย้อมโครโมโซมจากพืชให้สี 3 ชนิดได้แก่ ข้าวไรซ์เบอร์รี่(เมล็ด) หม่อน (ผล) และบีทรูท (รากสะสมอาหาร) และเพื่อศึกษาชนิดของตัวทำละลลายที่เหมาะสมในการสกัดสีย้อมโครโมโซม จากการทดลองพบว่า พืชที่นำมาสกัดแอนโทไซยานิน แล้วสามารถสังเกตเซลล์ตัวอย่างได้อย่างชัดเจน และติดสีเข้มที่สุดคือผลหม่อน ส่วนชนิดของตัวทำละลายที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการสกัดแอนโทไซยานินคือ กรดไฮโดคลอลิก 1.0% ในเมทานอล โดยให้ผลการย้อมติดสีโครโมโซมชัดเจนที่สุด

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
  • กานต์พิชชา ชอบตรง

  • ภัทร์ณัชชา เมืองสอน

  • สรณ์สิริ เลิศสุรัง

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนชลราษฎรอำรุง

รางวัลการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์

ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 ภาคตะวันออก

คำสำคัญ (keywords) ของโครงงาน
  • พืช สารสกัด

  • สี การย้อม

  • แอนโทไซยานิน สารสกัด

ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์