การศึกษาปริมาณของสารออกซินและจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นอ่อนของกุหลาบหนู

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

วีธรา เจนเชี่ยวชาญ, อรภิสชญา สินทร

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์

อรทัย ล่ำสัน

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี

ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2561

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

การเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อในปัจจุบนั ถือวา่เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่แพรห่ ลายในปัจจุบนั ประโยชน์ของ

การเพาะเลีย้งเนือ้เยื่อพืชคือการผลิตพืชพนัธุ์ดีเป็นจานวนมากเพื่ออุตสาหกรรมเพราะสามารถ

ประหยดัเวลาแรงงานและงบประมาณเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการขยายพนัธุ์แบบวิธีเดิมที่เคยปฏิบตัิมา นนั่หมายความว่าทาใหหพพืชจะเจริเเติบโตดดพดวกว่านั่นเองการเพาะเลีย้งดดพนาดปใหชพใหนการวิจยัและการ

เพาะปลูกต่างๆ และผพูคนใหนปัจจุบนั นิยมนามาเป็นของขวเั ที่เรียกกนั วา่ “ พืชในขวดโหล ” โดยมพี ืชหลาย

ประเภทที่ใชป้ ลูกในขวดโหลแบบการเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อ แตป่ ัญหาคือ ผูท้ ี่ปลูกไมพ่ อใจที่พืชข้ึนชา้ ไมท่ นั วนั

พิเศษที่จะมอบของขวญั ทางผู้คณะผู้จดั ทาจึงคิดหาวธิ ีการทาให้พืชโตไวข้ึนในระยะตน้ ออ่ น โดยใชส้ ารเรง่

การเจริญเติบโตของพืช คือ สารออกซินและจิบเบอเรลลิน แตป่ ริมาณของสารที่ใชค้ กู่ นั น้ัน อาจมีผลการ

ยบั ยง้ั การทางานซ่ึงกนั และกนั จึงต้องหาปริมาณสารทง้ั สองที่ทาให้พืชเจริญเติบโตไดด้ ีท่ีสุด โดย ทดลองกบั

กหุ ลาบหนูซ่งึ เป็นดอกกุลหลาบพนั ธุ์แคระนิยมมากในวนั วาเลนไทน์และวนั สาคญั ตา่งๆของครู่ักผลพบวา่

การที่จะใสอ่ อกซินและจิบเบอเรลลินน้ัน ต้องใสใ่ นปริมาณท่ีเหมาะสม หากใส่มากเกนิ ไป จะทาให้ยบั ยง้ั

การทางานของสารทง้ั สองชนิดแตห่ ากใสน่ ้อยไปกจ็ ะชว่ ยให้พืชเจริญเติบโตไดน้ ้อย