กระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

ณัฐพล แก้วสีนวน, ชนัญญา สาระขันธ์, ณัฐชญา ม่วงนิกร

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์

ณิชากร สงวนกลิ่น

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม

ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2560

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

บทคัดย่อ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของ nano - ZnO ในการผลิตกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano โดยพิจารณาจากสมบัติเชิงกายภาพ เชิงกล และเชิงความร้อน ในการผลิตกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano ผู้พัฒนาโครงงานได้ดำเนินการศึกษาตามลำดับ ดังนี้ ตอนที่ 1 เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของ nano – ZnO ในการผลิตกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano จากผลการทดลอง สรุปว่า ......ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano โดยพิจารณาจากการทดสอบสมบัติเชิงกายภาพ สมบัติเชิงกล และสมบัติเชิงความร้อน 2.1 การทดสอบความหนาแน่น จากผลการทดลองสรุปว่า เมื่อนำกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano ในสูตรที่ 4 และสูตรที่ 5 มาทดสอบความหนาแน่นสรุปว่า กระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano มีความหนาแน่นดีที่สุด คือ 2.2 การทดสอบค่าการดูดซึมน้ำของกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano พบว่า 2.3 การทดสอบค่าการรั่วซึมน้ำของกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano พบว่า 2.4 การทดลองการอัดแรงอัดตามขวาง เมื่อนำกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano ทุกสูตร มาทดสอบแรงอัดตามขวาง สรุปว่า 2.5 การทดสอบหาความสามารถในการลดอุณหภูมิ จากผลการทดลองเมื่อนำกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano ทั้ง 6 สูตร มาทดสอบความสามารถในการลดความร้อน เวลา 09.00น., 12.00น และ 15.00น. สรุปว่า

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติทางด้านต่างๆของกระเบื้องดินเหนียวมุงหลังคา nano ที่ได้จากการทดลอง พบว่า สูตรที่ ผู้จัดทำโครงงานจึงได้นำผลิตภัณฑ์ที่ได้นำมาประยุกต์ใช้เป็นกระเบื้องมุงหลังคา โดยใช้วัสดุธรรมชาติเป็นส่วนประกอบ และยังสามารถลดค่าใช้จ่าย ที่สำคัญชาวบ้านสามารถผลิตขึ้นเองได้