วัสดุเลียนแบบพฤติกรรมเฟินกระปรอกเล็กเพื่อเก็บกักน้ำ
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
มณีรัตน์ แฮนเกตุ, พลวัฒน์ เตชะนินทร์
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์
เสาวรจนี จันทวงค์, กรีฑา ภูผาดแร่
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานเรื่องวัสดุเลียนแบบพฤติกรรมเฟินกระปรอกเล็กเพื่อเก็บกักน้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการกั๊กเก็บน้ำของเฟิร์นกระบอกเล็ก โดยได้แบ่งการทดลองออกเป็น ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 ศึกษาพฤติกรรมการกั๊กเก็บน้ำของเฟิร์นกระบอกเล็กพบว่า สามารถกักเก็บน้ำได้ ทั้งนี้เนื่องจากรูปทรงจริง บริเวณผิวของตัวเหง้าจะมีขนสีน้ำตาลหรือตาลหรือเกล็ดแคบปกคลุม เมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็นช่องว่างที่โมเลกุลของน้ำสามารถเขาไปอยู่ได้ จึงส่งผลค่าปริมาตรของน้ำกักเก็บได้จากคำนวณ แตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนั้นเหง้าของเฟิร์นกระบอกเล็กต้นกระแตไต่ไม้จึงมีประสิทธิภาพในการกักเก็บน้ำได้ดี
ตอนที่ 2 ศึกษาวัสดุที่มีคุณสมบัติในการเตรียมเฟิร์นกระบอกเล็กพบว่าชานอ้อยสามารถรักษาความชื้นได้ถึง 54.48% ส่วนการกักเก็บน้ำในช่วงระยะเวลา 7 วัน แกนลำต้นมันสำปะหลังยังสามารถกักเก็บไว้ได้ 234.72 mL ส่วนแกนกลางลำต้นมันสำปะหลังขนาดเล็ก ปริมาณ 7 กรัม มีความเหมาะสมต่อการบรรจุในเหง้าเทียมเพราะมีช่องว่างที่โมเลกุลของน้ำสามารถเข้าไปอยู่ได้มาก
ตอนที่ 3 ศึกษาการประดิษฐ์และทดสอบประสิทธิภาพของต้นเฟิร์นกระปอกเล็กเทียมกักเก็บน้ำ พบว่าชานอ้อยสามารถรักษาความชื้นได้ถึง 54.48% ส่วนการกักเก็บน้ำในช่วงระยะเวลา 7 วัน ชานอ้อยยังสามารถกักเก็บไว้ได้ 234.72 mL ส่วนชานอ้อยขนาดเล็ก ปริมาณ 7 กรัม มีความเหมาะสมต่อการบรรจุในเหง้าเทียมเพราะมีช่องว่างที่โมเลกุลของน้ำสามารถเข้าไปอยู่ได้มากชานอ้อยสามารถรักษาความชื้นได้ถึง 54.48% ส่วนการกักเก็บน้ำในช่วงระยะเวลา 7 วัน ชานอ้อยยังสามารถกักเก็บไว้ได้ 234.72 mL ส่วนชานขนาดเล็ก ปริมาณ 7 กรัม มีความเหมาะสมต่อการบรรจุในเหง้าเทียมเพราะมีช่องว่างที่โมเลกุลของน้ำสามารถเข้าไปอยู่ได้มากพบว่าใบกาบเทียมจากกาบหมากจำนวน 3 ชั้นสามารถรักษาความชื้นได้ 73.38 % ส่วนการกักเก็บน้ำในช่วงระยะเวลา 7 วัน ใบกาบเทียมจำนวน 3 ชั้นสามารถกักเก็บได้ถึง 255.13 mL
ตอนที่ 4 ศึกษาการลดปริมาณการใช้น้ำในการปลูกพืช พบว่าต้นเฟิร์นกระบอกเล็กสามารถลดปริมาณการใช้น้ำในการปลูกต้นกล้ากล้วยไม้ได้ ซึ่งมีประสิทธิภาพดีกว่าวัสดุปลูกชนิดอื่นๆ ทั้งในห้องปฏิบัติการ และสภาพจริง