โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องถุงเพาะชำจากเศษอ้อย(Sugarcane Leaves-Made Agriculture Bags )
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
บุคูม เบเซ
สรวิทญ์ แซ่จู
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- รางวัลการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์
ม.ปลายชนะการประกวดรางวัลชมเชย ประเภทวิทย์กายภาพภาคเหนือ
- คำสำคัญ (keywords) ของโครงงาน
ถุงเพาะชำ
อ้อย
- ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานนี้ได้ศึกษาการผลิตถุงเพาะชำจากเศษอ้อย และเปรียบเทียบคุณสมบัติของแผ่นฟิล์มที่มีส่วนผสมของผง CMC แตกต่างกันได้แก่ ความหนา การซึมผ่านไอน้ำ การซึมผ่านไขมัน การต้านทางแรงดึง และระยะเวลาในการสลายตัวในดิน โดยแบ่งการทดลองเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1. สกัดเซลลูโลสจากใบอ้อย 2. การทำเซลลูโลสให้เป็นคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส(CMC) 3. การทำแผ่นฟิล์ม CMC 4.ทดสอบคุณสมบัติของแผ่นฟิล์ม 5.การนำแผ่นฟิล์มาผลิตเป็นถุงเพาะชำ หลังจากการทดลองสามารถสรุปได้ว่า ใบอ้อยสามารถนำมาผลิตเป็นถุงเพาะชำได้ และยังเป็นถุงเพาะชำที่ทำให้ปลูกพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ