Green Chemistry: การเพิ่มมูลค่าสารสกัดจากขยะเปลือกกะลาแมคคาเดเมียในโครงการพัฒนาดอยตุง เป็นอนุภาคนาโน และกระบวนการพัฒนากากวัสดุ เพื่อแก้ปัญหาสารพิษตกค้างสิ่งแวดล้อม และสร้างรายได้ที่ยั่งยืนให้ชุมชน

ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พริมา ยุคล

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์

สุภกร บุญยืน

โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์

โรงเรียนนานาชาติโชรส์เบอรี (Riverside Campus)

ปีที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์

พ.ศ. 2566

บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง มีกะลาแมคาเดเมีย ซึ่งเป็นขยะทางการเกษตร จำนวนมาก ที่แม้จะนำไปใช้ประโยชน์หลายด้านแล้ว ก็ยังคงเหลืออยู่ จึงหาวิธีการนำมาใช้ประโยชน์โดยใช้กระบวนการgreen chemistry ...