โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปีในชั้น 2p ของอะตอมของโลหะทรานซิชั่น 3d ตอนปลาย
- ชื่อผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
รัชนิกร กุมรัมย์
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์
วิวัฒน์ วงศ์ก่อเกื้อ
- สถาบันการศึกษาที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- ระดับการศึกษา
- หมวดวิชา
- วันที่จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ในรายงานสัมมนาฉบับนี้จะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับโฟโตอิเล็กตรอนสเปกโตรสโกปี ของอะตอมในชั้น 2p ของโลหะทรานซิชั่น 3d ตอนปลายโดยศึกษาจาก Cr ถึง Cu และได้เปรียบเทียบผลจากการศึกษาอะตอมอิสระกับอะตอมที่อยู่ในสภาพสารประกอบ และมีการเปรียบเทียบระหว่างผลที่ได้จากการทดลองกับผลจากการคำนวณโดยทฤษฎีของ Hartree Fock (HF) และ configuration interaction (CI) ผลการเปรียบเทียบพบว่าผลที่ได้จากการทดลองของสเปกตรัมโฟโตอิเล็กตรอนในชั้น 2p และผลที่ได้จากทฤษฎีการคำนวณในหนึ่งรูปแบบการจัดเรียงของอิเล็กตรอนของ HF มีผลคล้ายคลึงกันและพบการ satellite สามารถระบุได้ว่าเป็นผลมาจากอิทธิพลของอิเล็กตรอนในชั้น 3d สำหรับกรณีของ Ni มีการปนกันของรูปแบบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสถานะสุดท้ายมากกว่า 1 แบบ
Employing electron spectrometry in conjunction with third generation synchrotron radiation(SR), we present a short overview of the 2p photoelectron spectroscopy of free 3d transition metal atoms. In particular, this paper will focus on the late transition metals from Cr to Cu and a comparison of the free atoms to several compound systems. The atomic experimental spectra are compared to theoretical spectra based on Hartree Fock (HF) and configuration interaction (CI) calculations. In general a good agreement between experiment and theory is found already for single configuration HF calculations and the observed satellites in the atomic 2p photoelectron spectra (PES) can be attributed to a recoupled 3d valence shell. However, for Ni mixing of several configurations in the final state have to be taken into account.