โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการรักษาความสดของกล้วยหอมด้วยสารไคโตแซน
- บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ทำการศึกษาการสกัดสารไคโตแซนจากเปลือกกุ้งกุลาดำ กับกล้วยหอม แบ่งการทดลองเป็น 2 ชุด 1.เพื่อเปรียบเทียบหาความเข้มข้นของสารไคโตแซนที่เหมาะสมในการช่วยยืดเวลาการเก็บรักษากล้วยหอม ได้แก่ ความเข้มข้น 4.76, 9.09, 13.04% โดยมวล 2.หาอุณหภูมิที่เหมาะต่อการเก็บรักษา คือ อุณหภูมิต่ำ และอุณหภูมิห้อง ผลการทดลองพบว่า สารไคโตแซนที่มีความเข้มข้นร้อยละ 90.9% โดยมวลสามารถใช้งานได้ดี และสามารถใช้งานได้ดีขึ้นเมื่อเก็บรักษาผลไม้ที่เคลือบด้วยสารไคโตแซนเข้มข้น 9.09% โดยมวล ไว้ในที่มีอุณหภูมิต่ำ
- ชื่อนักเรียนผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
จุติภรณ์ ทัสสกุลพนิช
สันติสุข อำพันธ์
สุชาดา มณิรุจิ
- โรงเรียนที่กำกับดูแลโครงงานวิทยาศาสตร์
- รางวัลการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์
ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่2 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคกลาง
- ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์